ไทยแลนด์
Friday 3rd of January 2025
0
نفر 0

วิธีการอ่าน “ซิยารัตอัรบะอีน”

วิธีการอ่าน “ซิยารัตอัรบะอีน” มีฮะดีษรายงานว่า มุสตะฮับให้ซิยารัตอิมามฮุเซนในวันอัรบะอีน โดยไม่มีหะดีษให้ซิยารัตอัรบะอีนกับอิมามท่านใดทั้งก่อนและหลังจากอิมามฮุเซนเลย นี่คือสิ่งที่พิเศษสำหรับอิมามฮุเซน ความสำคัญต่อวันอัรบาอีนเพราะมีหลั
วิธีการอ่าน “ซิยารัตอัรบะอีน”



วิธีการอ่าน “ซิยารัตอัรบะอีน”

มีฮะดีษรายงานว่า มุสตะฮับให้ซิยารัตอิมามฮุเซนในวันอัรบะอีน โดยไม่มีหะดีษให้ซิยารัตอัรบะอีนกับอิมามท่านใดทั้งก่อนและหลังจากอิมามฮุเซนเลย นี่คือสิ่งที่พิเศษสำหรับอิมามฮุเซน

ความสำคัญต่อวันอัรบาอีนเพราะมีหลักฐานสองประการ

 

ประการที่หนึ่ง – อะฮ์ลุลบัยต์ เดินทางมาซิยารัตอิมามฮูเซนที่กัรบาลา วันที่ 20 ซอฟัร

 

ประการที่สอง – ศอฮาบะฮ์ ชื่อญาบิร บิน อับดุลลอฮ์ และตาบิอีน ชื่อ อะตอ บินอบีร่อบาห์ เดินทางมาซิยารัตอิมามฮุเซนที่กัรบาลา วันที่ 20 ซอฟัร

 

หนังสือ วะซาอิลุช-ชีอะฮ์ ของอัลฮุรรุล อามีลี บันทึกในหัวข้อที่ 56 เรื่อง

 

بتَأَكُّدِ اسْتِحْبَابِ زِيَارَةِ الْحُسَيْنِ ع يَوْمَ الْأَرْبَعِينَ مِنْ مَقْتَلِهِ وَ هُوَ يَوْمُ الْعِشْرِينَ مِنْ صَفَرٍ

 

มุสตะฮับให้เน้นทำการซิยารัตอิม่ามฮูเซน(อ)ในวัน อัรบาอีน นับจากวันที่ท่านถูกสังหาร และนั่นคือวันที่ 20 เดือนซอฟัร

 

ริวายัตที่ 1

 

อิม่ามฮาซัน อัสกะรี(อ) กล่าวว่า

 

عَلَامَاتُ الْمُؤْمِنِ خَمْسٌ صَلَاةُ الْخَمْسِينَ وَ زِيَارَةُ الْأَرْبَعِينَ وَ التَّخَتُّمُ فِي الْيَمِينِ وَ تَعْفِيرُ الْجَبِينِ وَ الْجَهْرُ بِبِسْمِ اللَّهِ الرَّحْمَنِ الرَّحِيمِ

 

สัญลักษณ์ของผู้ศรัทธามี 5 ประการคือ

 

1.นมาซ(วายิบ+มุสตะฮับรวม) 50 รอกะอัต 2.ทำการซิยารัตอัรบาอีน 3.สวมแหวนที่มือขวา 4.แนบหน้าผากติดพื้นตอนสุหยูด 5.อ่านบิสมิสลาฮิรเราะฮ์มานิรร่อฮีมออกเสียง (ทั้งในนมาซที่อ่านดังและอ่านเบา)  

 

[หนังสือ วะซาอิลุช-ชีอะฮ์ เล่ม 14 : 478 หะดีษที่ 19643]

 

ริวายัตที่ 2

 

وَ رَوَى فِي الْمِصْبَاحِ أَنَّهُ فِي يَوْمِ الْعِشْرِينَ مِنْ صَفَرٍ كَانَ رُجُوعُ حَرَمِ الْحُسَيْنِ (ع) مِنَ الشَّامِ إِلَى مَدِينَةِ الرَّسُولِ (ص) وَ هُوَ الْيَوْمُ الَّذِي وَرَدَ فِيهِ جَابِرُ بْنُ عَبْدِ اللَّهِ إِلَى زِيَارَةِ الْحُسَيْنِ (ع) وَ هُوَ أَوَّلُ مَنْ زَارَهُ مِنَ النَّاسِ

 

มีริวายัตรายงานไว้ในหนังสืออัลมิศบ๊าห์ว่า ในวันอัรบาอีน เดือนซอฟัร คือวันที่ ฮะร็อม(ครอบครัว)อิม่ามฮูเซน(อ) กลับจากเมืองช่ามไปยังนครมะดีนะตุล-รอซูล(ศ) และเป็นวันที่ท่านญาบิร บิน อับดุลลอฮ์ อัลอันซอรีย์ได้เดินทาง(จากมะดีนะฮ์)ไปซิยารัตอิมามฮูเซน(อ) และเขาคือซอฮาบะฮ์คนแรกที่ได้ไปซิยารัตอิมามฮูเซน

 

[หนังสือ วะซาอิลุช-ชีอะฮ์ เล่ม 14 : 478 หะดีษที่ 19645]

 

ริวายัตที่ 3

 

عَنْ صَفْوَانَ الْجَمَّالِ قَالَ قَالَ لِي مَوْلَايَ الصَّادِقُ ع فِي زِيَارَةِ الْأَرْبَعِينَ تَزُورُ ارْتِفَاعَ النَّهَارِ وَ تَقُولُ السَّلَامُ عَلَى وَلِيِّ اللَّهِ وَ حَبِيبِهِ وَ ذَكَرَ الزِّيَارَةَ إِلَى أَنْ قَالَ وَ تُصَلِّي رَكْعَتَيْنِ وَ تَدْعُو بِمَا أَحْبَبْتَ وَ تَنْصَرِفُ

 

ศ็อฟวาน อัลญัมมาล เล่าว่า เมาลาของฉันคืออิม่ามญะอ์ฟัร(อ)ได้กล่าวกับฉันในเรื่องการซิยารัตอัรบาอีนว่า ท่านต้องทำการซิยารัตตอนกลางวัน และให้ท่านกล่าวว่า “ อัส-สลามุ อะลา วะลียิลลาฮิ วะ ฮะบีบิฮี…..” และท่านอิม่ามได้กล่าวการอ่านซิยารัตนี้ไป(จนจบบทซิยารัต) แล้วท่านกล่าวว่า ท่านต้องทำนมาซสองร่อกะอัต และ(หลังจากนมาซซิยารัตอัรบาอีนเสร็จ) ให้ท่านวิงวอนขอต่อสิ่งที่ท่านปรารถนา แล้วก็เสร็จสิ้น

[หนังสือ วะซาอิลุช-ชีอะฮ์ เล่ม 14 : 478 หะดีษที่ 19644]

 

 

วิธีการซิยารัตอิมามฮุเซน (อ) ในวันที่ 20 เดือนซอฟัร

 

1.อ่าน

 

اَلسَّلامُ عَلَى وَلِيِّ اللهِ وَحَبِيْبِهِ، اَلسَّلامُ عَلَى خَلِيْلِ اللهِ وَنَجِيْبِهِ،

 اَلسَّلامُ عَلى صَفِيِّ اللهِ وَابْنِ صَفِيِّهِ، اَلسَّلامُ عَلى الْحُسَيْنِ الْمَظْلُوْمِ الشَّهِيْدِ،

 اَلسَّلامُ عَلى اَسِيْرِ الْكُرُباَتِ وَقَتِيْلِ الْعَبَرَاتِ،

 اَللّهُمَّ اِنِّي اَشْهَدُ اَنَّهُ وَلِيُّكَ وَابْنُ وَلِيِّكَ وَصَفِيُّكَ وَابْنُ صَفِيِّكَ الْفائِزُ بِكَرَامَتِكَ،

 اَكْرَمْتَهُ بِالشَّهاَدَةِ وَحَبَوْتَهُ بِالسَّعاَدَةِ، وَاَجْتَبَيْتَهُ بِطَيِّبِ الْوِلاَدَةِ،

 وَجَعَلْتَهُ سَيِّداً مِنَ الساَّدَةِ، وَقائِداً مِنَ الْقاَدَةِ، وَذائِداً مِنْ الذَّادَةِ، وَاَعْطَيْتَهُ مَوَارِيْثَ الْاَنْبِياَءِ،

 وَجَعَلْتَهُ حُجَّةً عَلى خَلْقِكَ مِنَ الْاَوْصِياَءِ، فَاَعْذَرَ فىِ الدُّعاَءِ وَمَنَحَ النُّصْحَ،

 وَبَذَلَ مُهْجَتَهُ فِيْكَ لِيَسْتَنْقِذَ عِباَدَكَ مِنَ الْجَهالَةِ وَحَيْرَةِ الضَّلاَلَةِ،

 وَقَدْ تَوَازَرَ عَلَيْهِ مَنْ غَـرَّتْهُ الدُّنْياَ، وَباَعَ حَظَّهُ بِالْاَرْذَلِ الْاَدْنَى، وَشَرَى آخِرَتَهُ بِالَّثمَنِ الْاَوْكَسِ،

 وَتَغَطْرَسَ وَتَرَدَّى فِي هَـوَاهُ، وَاَسْخَطَكَ وَاَسْخَطَ نَبِيَّكَ،

 وَاَطاَعَ مِنْ عِباَدِكَ اَهْلَ الشِّقاَقِ وَالنِّفاَقِ وَحَمَلَةَ الْاَوْزَارِ الْمُسْتَوْجِبِيْنَ النّاَرَ،

 فَجاَهَدَهُمْ فِيْكَ صَابِراً مُحْتَسِباً حَتَّى سُفِكَ فِي طاَعَتِكَ دَمُهُ وَاسْتُبِيْحَ حَرِيْمُهُ،

 اَللّهُمَّ فَالْعَنْهُمْ لَعْناً وَبِيْلاً وَعَذِّبْهُمْ عَذَاباً اَلِيْماً،

 اَلسَّلامُ عَلَيْكَ يَا بْنَ رَسُوْلِ اللهِ، اَلسَّلامُ عَلَيْكَ يَا بْنَ سَيِّدِ الْاَوْصِياَءِ،

 اَشْهَدُ اَنَّكَ اَمِيْنُ اللهِ وَابْنُ اَمِيْنِهِ، عِشْتَ سَعِيْداً وَمَضَيْتَ حَمِيْداً وَمُتَّ فَقِيْداً مَظْلُوْماً شَهِيْداً،

 وَاَشْهَدُ اَنَّ اللهَ مُنْجِزٌ ماَ وَعَدَكَ، وَمُهْلِكٌ مَنْ خَذَلَكَ، وَمُعَذِّبٌ مَنْ قَتَلَكَ،

 وَاَشْهَدُ اَنَّكَ وَفَيْتَ بِعَهْدِ اللهِ وَجاَهَدْتَ فِي سَبِيْلِهِ حَتَّى اَتاَكَ الْيَقِيْنُ،

 فَلَعَنَ اللهُ مَنْ قَتَلَكَ، وَلَعَنَ اللهُ مَنْ ظَلَمَكَ، وَلَعَنَ اللهُ اُمَّةً سَمِعَتْ بِذَلِكَ فَرَضِيَتْ بِهِ،

 اَللّهُمَّ اِنّي اُشْهِدُكَ اَنِّي وَلِيٌّ لِمَنْ وَالاَهُ وَعَدُوٌّ لِمَنْ عاَدَاهُ بِاَبِيْ اَنْتَ وَاُمِّي يَا بْنَ رَسُوْلِ اللهِ،

 اَشْهَدُ اَنَّكَ كُنْتَ نُوْراً فىِ الْاَصْلابِ الشّاَمِخَةِ وَالْاَرْحاَمِ الْمُطَهَّرَةِ،

 لَمْ تُنَجِّسْكَ الْجاَهِلِيَّةُ بِاَنْجاَسِهاَ وَلَمْ تُلْبِسْكَ الْمُدْلَهِمّاَتُ مِنْ ثِياَبِهاَ،

 وَاَشْهَدُ اَنَّكَ مِنْ دَعاَئِمِ الدِّيْنِ وَاَرْكاَنِ الْمُسْلِمِيْنَ وَمَعْقِلِ الْمُؤْمِنِيْنَ،

 وَاَشْهَدُ اَنَّكَ الْاِماَمُ الْبَرُّ التَّقِيُّ الرَّضِيُّ الزَّكِيُّ الْهاَدِيُّ الْمَهْدِيُّ،

 وَاَشْهَدُ اَنَّ الْاَئِمَّةَ مِنْ وُلْدِكَ كَلِمَةُ التَّقْوَى وَاَعْلامُ الْهُدَى وَالْعُرْوَةُ الْوُثْقَى،

 وَالْحُجَّةُ عَلَى اَهْلِ الدُّنْياَ، وَاَشْهَدُ اَنِّي بِكُمْ مُؤْمِنٌ وَبِاِيابِكُمْ،

 مُوقِنٌ بِشَرَايِعِ دِيْنِيْ وَخَوَاتِيْمِ عَمَلِيْ، وَقَلْبِيْ لِقَلْبِكُمْ سِلْمٌ وَاَمْرِيْ لاِمْرِكُمْ

 مُتَّبِعٌ وَنُصْرَتِيْ لَكُمْ مُعَدَّةٌ حَتَّى يَأْذَنَ اللهُ لَكُمْ، فَمَعَكُمْ مَعَكُمْ لاَ مَعَ عَدُوِّكُمْ صَلَوَاتُ اللهِ عَلَيْكُمْ

 وَعَلَى اَرْوَاحِكُمْ وَاَجْساَدِكُمْ وَشاَهِدِكُمْ وَغاَئِبِكُمْ وَظاَهِرِكُمْ وَباَطِنِكُمْ آمِيْنَ رَبَّ الْعاَلِمِيْنَ

 

2.อ่านซิยารัตจบแล้ว ให้ทำนมาซซิยารัต อัรบาอีน สองรอกะอัต (เช่นอ่านซูเราะฮ์ฟาติฮะฮ์และหนึ่งซูเราะฮ์สั้นๆ) นมาซเสร็จ ให้ขอดุอาอ์ต่ออัลลอฮ์ตามสิ่งที่ปรารถนาเป็นอันเสร็จสิ้น

 

ขอขอบคุณเว็บไซต์เลิฟฮุเซน

0
0% (نفر 0)
 
نظر شما در مورد این مطلب ؟
 
امتیاز شما به این مطلب ؟
اشتراک گذاری در شبکه های اجتماعی:

latest article

อิมามอาลี (อ) ...
การนมาซ ในอัลกุรอาน
โองการอัตตัฏฮีรในอัลกุรอาน
...
ความกล้าหาญของท่านอับบาส
เปชวาร์ราตรี : เสวนาคืนที่ 1 ...
เตาฮีด ...
...
...
การขออภัยโทษ (เตาบะฮ์) ...

 
user comment