ประวัติศาสตร์อิสลาม
ประวัติศาสตร์อิสลาม












ความไว้วางใจและความยุติธรรมเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการดำเนินชีวิต
ประวัติศาสตร์อิสลาม
คุณลักษณะทางด้านจริยธรรมที่สำคัญสองประการที่มุสลิมเราทุกคนจำเป็นต้องมี และถือเป็นหัวใจสำคัญที่จะทำให้การดำเนินชีวิตและสัมพันธภาพทางสังคมของมนุษย์ดำเนินไปได้ด้วยความดีงามและมีความสงบสุข 1) การรักษาอะมานะฮ์ (ความไว้วางใจ) ในสิ่งที่ได้รับมอบหมาย 2) การรักษาความยุติธรรม (อะดาละฮ์) ในการตัดสินต่างๆ ระหว่างเพื่อนมนุษย์




ชื่อและสายตระกูลของซุฟยานี
ประวัติศาสตร์อิสลาม
ดังที่บรรดาริวายะฮ์ (คำรายงาน) ได้เน้นย้ำไว้ว่า เขาคือลูกหลานและสืบสายตระกูลมาจาก "อบูซุฟยาน" ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้เองเขาจึงถูกเรียกว่า "ซุฟยานี" มีรายงานจากท่านอิมามอะลี (อ.) ซึ่งท่านกล่าวว่า “บุตรชายของผู้กินตับจะปรากฏตัวขึ้นในแผ่นดินที่แห้งแล้ง (วาดิลยาบิซ)... ชื่อของเขาคืออุสมานและชื่อบิดาของเขาคืออันบะซะฮ์ และสืบเชื้อสายมาจากอบูซุฟยาน”


กามารมณ์เสรี ทางออกหรือปัญหา?
ประวัติศาสตร์อิสลาม
ทฤษฏีเกลือจิ้มเกลือของชาวตะวันตก นักวิชาการตะวันตกบางคนเชื่อว่า การปิดกั้นระหว่างชายและหญิงจะเพิ่มความอยากและความทุรนทุราย จากหลักที่ว่า"มนุษย์มักจะต้องการในสิ่งต้องห้าม" ทำให้เราเห็นว่าการห้ามหรือการปิดกั้นนั้นจะยิ่งเพิ่มความต้องการทางเพศให้รุนแรงมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การกักขังความรู้สึกทางเพศย่อมนำมาซึ่งความปรวนแปรทางกายและจิตใจ


กฎเกณฑ์เกี่ยวกับการถือศีลอด - ตอนที่ 2
ประวัติศาสตร์อิสลาม
กฎเกณฑ์เกี่ยวกับการถือศีลอด - ตอนที่ 2 เงื่อนไขการเดินทางไกล การเดินทางไกลที่เป็นสาเหตุให้ไม่อาจถือศีลอดได้นั้นมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้


ที่มาของตัฟซีรอัลกุรอานของ ท่านอิมามฮะซัน อัสกะรียฺ
ประวัติศาสตร์อิสลาม
ที่มาของตัฟซีรอัลกุรอานของ ท่านอิมามฮะซัน อัสกะรียฺ ตัฟซีรอิมามฮะซัน อัสการียฺ (อ.) เป็นหนึ่งในตัฟซีรที่กล่าวว่าเป็นของท่านอิมาม ซึ่งมีเหตุผลบางประการพาดพิงว่าตัฟซีรดังกล่าวเป็นของท่านอิมาม แต่เป็นเหตุผลที่เชื่อถือไม่ได้แน่นอน ตัฟซีรชุดนี้ได้มีการตีเว็บไซต์ อิมาม อัลฮะซะนัยน์ (อลัยฮิมัสลาม)เพื่อคุณค่าและสารธรรมอิสลามความอัลกุรอาน บทฟาติฮะฮฺ (อัลฮํมด์) และบทบะเกาะเราะฮฺ โองการ 282 โดยรายงานฮะดีซ ซึ่งในวิชาอุลูมกุรอานเรียกว่าตัฟซีร »มะอฺซูเราะฮฺ«










ประวัติโดยสังเขปการสร้างอาคารกะอ์บะฮ์โดยอิบรอฮีม (อ.)
ประวัติศาสตร์อิสลาม
ประวัติโดยสังเขปการสร้างอาคารกะอ์บะฮ์โดยอิบรอฮีม (อ.) ท่านศาสดาอิบรอฮีม (อ.) เริ่มต้นสร้างผนังของอาคารกะอ์บะฮ์ในวันที่ 5 ซุลเกาะฮ์ดะฮ์ โดยการช่วยเหลือของท่านศาสดาอิสมาอีล (อ.) บุตรชายของท่าน และการก่อสร้างเสร็จสิ้นในวันที่ 27 ซุลเกาะฮ์ดะฮ์ ท่านศาสดาอิบรอฮีม (อ.) ประกอบพิธีฮัจญ์ครั้งแรกในสถ







